เคยมั๊ยคะ ไปนั่งฟังการนำเสนอผู้นำเสนอเปิดสไลด์ที่มีแผนภูมิวงกลมอันใหญ่แต่ถูกแบ่งเป็น 11 ชิ้น ใหญ่บ้างเล็กบ้าง พร้อมกับคำอธิบายที่โยงกันไปมาจนงงไปหมด พอเพ่งดูถึงเสี้ยวอันที่ 7 ของวงกลม ผู้นำเสนอก็เปลี่ยนสไลด์ไปซะแล้ว สรุปว่าแผนภูมิบอกอะไรบ้างก็ไม่รู้ เพราะอ่านไม่ทัน แล้วก็ไม่ได้ฟังผู้นำเสนอพูดด้วย เพราะมัวแต่เพ่ง...อ๊ะ... สไลด์หน้าต่อไปมาแล้ว คราวนี้เป็นกราฟแท่งหลากสี มีข้อมูลอยู่ ...

อ่านต่อ

คุณเคยต้องนำเสนอเรื่องเดียวกันหรือเรื่องคล้ายกันซ้ำไปซ้ำมาหลายๆ รอบมั๊ยคะรอบที่หนึ่ง คุณนำเสนอให้เจ้านายฟังรอบที่สอง คุณนำเสนอให้เพื่อนร่วมงานที่อยู่คนละส่วนงานฟังรอบที่สาม คุณนำเสนอให้หน่วยงานอื่นที่มีส่วนร่วมในโครงการฟังรอบที่สี่ คุณนำเสนอให้กลุ่มเป้าหมายของโครงการฟังรอบที่....สรุปว่า นำเสนอ วนไป จนจำไม่ได้ว่าพูดหัวข้อนี้ไปกี่รอบ?คำถาม คือ คุณทำสไลด์ใหม่ทุกรอบ หรือ รีไซเคิลของเดิมใช้วนไป?อิงเชื่อว่า ส่วนใหญ่แล้วเอาสไลด์เดิมมารีไซเคิล (เพิ่มนั่นนิด ตัดนั่นหน่อย) ไม่ก็ ...

อ่านต่อ

เมื่อวานคุณนั่งหาข้อมูลในเน็ตอยู่...เปิดไปเปิดมา เลยไปเห็นเทคนิคใหม่ในโพสต์นึง มันเจ๋งมาก เขาใส่รูปภาพเข้าไปในกราฟแท่งสวย ทันสมัย ทำให้สไลด์โดดเด่นว่าแล้วคุณเลยเอามาใช้บ้าง…แต่เดี๋ยวก่อน...คุณแน่ใจแล้วหรือเปล่า?เพราะเขาไม่ได้แนบคำเตือนมาด้วยว่า "โปรดใช้ด้วยความระมัดระวัง"เราอาจเห็นกราฟแบบนี้บ่อยขึ้นทั้งใน Blog Post และ หนังสือเกี่ยวกับการนำเสนอแต่...มันคือหลุมพรางของการนำเสนอ (ค่ากราฟ) ที่ลดประสิทธิภาพของการสื่อสารลงอย่างน่าตกใจจริงเท็จอย่างไร...มาค่ะ อิงจะพาไปดูให้ถึงแก่น พร้อมขยายความปัญหาให้ฟังพื้นฐาน 1: การอ่านค่าของกราฟแท่งโดยปกติกราฟแท่งจะอ่านค่าจากความยาวของกราฟแท่งเทียบกับสเกล (X หรือ ...

อ่านต่อ

เวลามีหนังสือออกมาในหัวข้อใกล้ๆ กัน มันก็อดที่จะเอามาเปรียบเทียบกันไม่ได้ เล่มนึงบอกว่าจดโน้ตขั้นเทพ เปลี่ยนกระดาษให้เป็นสมองที่สอง ของ Amarin How to อีกเล่มบอกว่าจดโน้ตแบบนี้สมองชอบจัง (เทคนิคจดโน้ตที่เป็นมิตรกับสมอง) ของ We learn อือม... แล้วสองเล่มนี้แตกต่างกันอย่างไร? ความเห็นส่วนตัวนะคะ ...

อ่านต่อ

เมื่อเดือนที่แล้ว อิงรีวิวหนังสือเกี่ยวกับการจดโน้ตของ Amarin How To ไป ถ้าไม่รีวิวหนังสือในแนวคล้ายๆ กันของ We Learn ก็จะกะไรอยู่ เพราะน่าอ่านทั้งคู่ เรื่องของเรื่องคือ พอทำรีวิวเสร็จ อิงก็นึกขึ้นมาได้ว่าเราเคยอ่านหนังสือแนวนี้อยู่อีกสองเล่มนี่หน่า เขียนโดยชาวญี่ปุ่นเหมือนกันอีกต่างหาก เลยไปรื้อกรุหนังสือดูค่ะ ...

อ่านต่อ

มาถึงตอนที่ 3 ซึ่งเป็นตอนสุดท้ายในซีรี่ส์นี้กันแล้ว ในตอนนี้จะเป็นกลุ่มกราฟที่เราอาจไม่คุ้นเท่าไหร่ ยกเว้น Pie Chart หรือแผนภูมิวงกลมนั่นเอง ทั้ง 3 กลุ่ม ประกอบด้วย Part-to-whole, Spatial และ Flowมาดูรายละเอียดกันค่ะ(หมายเหตุ: บทความนี้อ้างอิงเนื้อหาจาก ...

อ่านต่อ

มาถึงตอนที่ 2 กันค่ะ สำหรับการขยายความ FT Visual Vocabulary ในตอนนี้จะเป็นกลุ่มกราฟที่เราเห็นและใช้กันค่อนข้างบ่อย ประกอบด้วย Distribution, Change over Time และ Magnitudeมาดูรายละเอียดกันค่ะ(หมายเหตุ: บทความนี้อ้างอิงเนื้อหาจาก Visual ...

อ่านต่อ

หลายคนคงรู้จัก "Financial Times" ว่าเป็นหนังสือพิมพ์ด้านการเงินชื่อดัง และสำนักพิมพ์ที่ออกหนังสือด้าน Business and Management ดีๆ หลายเล่ม แต่อาจไม่รู้ว่า Financial Times ค่อนข้างจริงจังกับเรื่อง Data Visualization ด้วย ใน www.ft.com ...

อ่านต่อ