June 12, 2022

คุณว่า… ในการเตรียมการนำเสนอ ควรเริ่มต้นจากอะไร? วัตถุประสงค์ของงาน… สิ่งที่เรารู้และอยากพูด… สิ่งที่คนฟังอยากรู้… สิ่งที่ผู้จัดอยากบอก…. ถ้าให้อิงเรียงตามลำดับปกติที่ใช้ในการเตรียมตัว อิงจะเรียงอย่างนี้ค่ะ ใช้วัตถุประสงค์และสิ่งที่ผู้จัดอยากบอกเป็นกรอบของเนื้อหา และใช้สิ่งที่คนฟังอยากรู้เป็นตัวตั้งต้น เพื่อมาจับคู่กับสิ่งที่เรารู้และอยากพูด ใน 4 สิ่งข้างบน มี 3 อย่างที่เรารู้แน่นอน แต่มีอย่างนึงค่ะ ที่เราต้องค้นหา…  นั่นคือ สิ่งที่คนฟังอยากรู้… มาดูวิธีเจาะลึกผู้ฟัง เพื่อหาสิ่งที่เขาอยากรู้กันค่ะ แล้ว…การเตรียมการนำเสนอของเราจะง่ายขึ้นเยอะเลยค่ะ

อ่านต่อ

March 25, 2021

ใครๆ ก็อยากนำเสนอให้เหมือนนั่งอยู่ในใจผู้ฟัง แต่… การเข้าไปนั่งในใจผู้ฟัง… ไม่ได้เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ หัวใจสำคัญอย่างหนึ่ง คือ ต้องวิเคราะห์ผู้ฟัง พร้อมทั้งเตรียมการก่อนการนำเสนอ ถ้าผู้ฟังมาจากหน่วยงานเดียวกัน หรือ background ใกล้กัน อันนี้ไม่ยากค่ะ แต่… ถ้าผู้ฟังหลากหลาย… อันนี้เป็นปัญหาน่าปวดหัวในการเตรียมการนำเสนอ จะให้ความสำคัญกับใครดี? มาค่ะ มาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันค่ะว่ากรณีนี้ควรทำอย่างไรดี

อ่านต่อ

March 15, 2021

ช่วงเวลาแห่งการสัมมนาเริ่มตั้งแต่ต้นเดือนกันเลยค่ะ ฟังติดๆ กันหลายๆ งาน… อิงก็อดคิดไม่ได้ว่า… การนำเสนอเชิงวิชาการนั้น สำคัญ น่าสนใจ และมีประโยชน์ แต่… มันไม่ค่อยน่าติดตาม สไลด์อาจเป็นส่วนหนึ่ง (แต่… สไลด์ที่ออกแบบมาดี น่าสนใจ ก็มีเยอะขึ้นมาก) วันนี้อิงขอตั้งข้อสังเกตว่า… สิ่งสำคัญที่ขาดหายไปในการนำเสนอเชิงวิชาการ คือ… “การดึงความสนใจจากผู้ฟัง” ค่ะ มาขยายความและแลกเปลี่ยนความเห็นกันค่ะ

อ่านต่อ

May 23, 2019

“ที่ฟังฟังมา มันเกี่ยวกับอะไรกับฉันเนี่ย”อิงเชื่อว่า หากเราไปนั่งฟังการประชุมหรือสัมมนาบ่อยๆ (หรือแค่ได้ไปบ้าง) ต้องเคยคิดอย่างนี้แน่นอน…วันนี้เรามาลองวิเคราะห์กันค่ะ…ว่าอาการแบบนี้เกิดขึ้นเพราะอะไร? แล้วถ้าเราเป็นผู้นำเสนอต้องแก้ไขอย่างไร?

อ่านต่อ

December 4, 2018

Post Views: 294 ถึงพูดเรื่องเดียวกัน แต่เมื่อจำนวนคนฟังและขนาดห้องเปลี่ยนไป จำนวนตัวหนังสือใน slide ของเราก็ควรจะเปลี่ยนตาม… Rule of thumb ของเราในโพสต์นี้ คือ คนฟังมากขึ้น ห้องใหญ่ขึ้น ตัวหนังสือควรจะน้อยลง (จำนวนตัวหนังสือใน slide แปรผกผันกับจำนวนคนฟังและขนาดของห้อง)

อ่านต่อ